แจ้ง ฝาก-ถอน
Must Have หรือ Must Carry ที่ทำให้คนไทยเกือบจะไม่ได้ดูฟุตบอลโลก 2022 ที่กาตาร์

แน่นอนว่ามหกรรมฟุตบอลโลกที่ 4 ปีจะมีซักหนึ่งครั้งนั้น เป็นอะไรที่แฟนบอลหรือคนทั่วโลกต่างตั้งแต่รอ ไม่ใช่ค่นักฟุตบอลเพียงอย่างเดียว และทุกครั้งที่มีฟุตบอลโลกเกิดขึ้น ทางฟีฟ่า  สมัครแทงบอลออนไลน์ ก็จะรีบขายลิขสิทธิ์ถ่ายทอดให้ชาติต่างๆ ทั่วโลกในราคาที่ต่างกัน เทีมชาตไหนได้เข้าร่วมแข่งขันรอบสุดท้ายก็อาจจะจ่ายแพงเสียหน่อย เพื่อให้พวกเขาสามารถเตรียมความพร้อมให้กับประชาชนของตัวเองได้รับชมมหกรรมกีฬาระดับโลกในทุกๆ ครั้งไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทย

ซึ่งในฟุตบอลโลก 2022 นี้ก็เช่นกัน ชาติทั่วโลกต่างเตรียมความพร้อมเรียบร้อยสำหรับประชาชนของเขา แต่ ligaz88 ประเทศไทยนั้นยังต้องรออยู่ เนื่องจากยังไม่มีใครจ่ายค่าลิขสิทธิ์นำเข้าสัญญษณถ่ายทอดเข้ามา ด้วยมูลค่าลิขสิทธิ์กว่า 1,600 ล้านบาท ทำให้ทางภาครัฐไม่สามารถที่จะจ่ายเงินจำนวนนี้ได้ และภาคเอกชนก็ไม่อยากที่ นำเงินจำวนวนนี้มาลงทุนเช่นกัน เนื่องจากติดกฎ Must Have ของประเทศไทย

Must Have คืออะไร มันก็คือกฎหมายหรือหลักเกณฑ์ ที่ กสทช. กำหนดไว้ตั้งแต่วันที่ 11 ธันวาคม 2555 กี่ยวกับเรื่องหลักเกณฑ์รายการโทรทัศน์สําคัญที่ให้เผยแพร่ได้เฉพาะในบริการโทรทัศน์ที่เป็นการทั่วไป โดยมีสาระสำคัญคือ จะต้องถ่ายทอด 7 มหกรรมกีฬาระดับโลก ไม่ว่าจะเป็นซีเกมส์, อาเซียน พาราเกมส์, เอเชียน เกมส์, เอเชียน พาราเกมส์, โอลิมปิก, พาราลิมปิก ligaz และฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย ให้กับประชาชาชนได้ดูฟรี ไม่ว่าจะเป็นใครก็ตามที่ทำการซื้อลิขสิทธิ์ของมหกรรมนั้นเข้ามา นี่จะเป็นเหตุผลหลักที่ทำให้ภาคเอกชนไม่อยากที่จะก้าวเข้ามาลงทุนในจุดนี้

โดยเหตุการณ์ที่ทำให้เกิด Must Have นั้นคงต้องย้อนไปตั่งแต่ปี 2012 หรือในศึกยูโร 2012 ที่ทาง บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) ต้องการตีตลาดขายกล่องรับสัญญาณทีวีดิจิทัล จึงมีการขายกล่องรับสัญญาณของตัวเองเรียกว่า GMM Z โดยเปิดตัวพร้อมกลับใช้คำโฆษณาที่ว่า ถ้าซื้อกล่องนี้จะสามารถดูฟุตบอลยูโร 2012 ได้และเป็นที่เดียวที่สามารถดูได้ในประเทศ เป็นเหตุให้เกิดกระแสดราม่าอย่างมากในตอนนั้น ซึ่งแน่นอนมันส่งผลทำให้ลูกค้าที่มีกล่อง ทรูวิชั่นไม่สามารถรับชมได้ และเกิดความเสียหายอย่างมากในขณะนั้น ทำให้ต่อมา กสทช. ออกกฎ Must Carry ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2555 และ Must Have วันที่ 11 ธันวาคม 2555 เนื่องจากกังวลว่าอาจจะเกิดการผูกขาดขึ้นในยุคทีวีดิจิทัล และต่อเนื่องเลยในฟุตบอลโลกปี 2014 ที่ทาง rs นั้นได้สิทธิ์ในการฉายฟุตบอลโลกแต่เพียงผู้เดียว โดยบริษัท อาร์เอสฯ เซ็นสัญญากับเจ้าของลิขสิทธิ์ตั้งแต่ 12 กันยายน 2548 แต่ประกาศ กสทช. มีผลบังคับใช้เมื่อ 4 มกราคม 2556 ทำให้กฎ Must Have ไม่มีผล แต่สุดท้ายก็ยังแพ้คดีมันจึงทำให้ แทงบอลออนไลน์ ฟุตบอลโลก 2018 ไม่มีใครยอมซื้อลิขสิทธิ์แต่เพียงเจ้าเดียวเหมือนกรณีของอาร์เอสฯ แต่สุดท้ายบริษัทเอกชน 9 ราย ได้แก่ ซีพี, ไทยเบฟ, บีทีเอส, คิง เพาเวอร์, กัลฟ์, กสิกรไทย, พีทีทีจีซี, บางจาก และคาราบาวแดง ก็ลงขันกันในการซื้อลิขสิทธิ์ในครั้งนั้น

ที่นี้เรามาดูกันบ้างว่า ทำไมไทยถึงมีเงินจ่ายค่าลิขสิทธ์ แน่นอนว่าค่าลิขสิทธิ์ฟุตบอลโลก 2022 ในครั้งนี้สูงถึง 1,600 ล้านบาท ซึ่งทาง กสทช. นั้นได้ขอการสนับสนุนจากกองทุน กทปส. และได้เงินมาจำนวน 600 ล้านซึ่งยังขาดไปอีก 1,000 ล้าน ซึ่งแน่นอนเงินในส่วนนี้จำเป็นต้องพึ่งจากภาคเอกชน แต่อย่างที่บอกด้วย Must Have มันจึงไม่มีใครอยากที่จะลงทุนด้วย จนเหลือเพียงไม่กี่วันที่ฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย 2022 ที่กาตาร์จะเปิดฉากขึ้น กกท. จึงได้ทำหนังสือไปถึง 3 บริษัทเอกชนสนับสนุนเพิ่ม ได้แก่ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) โดยคาดว่าจะได้เงินราวๆ สี่ถึงห้าร้อยล้านบาท รวมกับของเดิมเป็น 1,100 ล้านบาท แต่ก็ยังไม่พออยู่ดี ทำให้ท้ายที่สุด พวกเขาได้เงินทุนจากอีก 9 บริษัทเอกชนทั้งนี้ แยกเป็น บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) 300 ล้านบาท, น้ำแร่ธรรมชาติ ตราช้าง 100 ล้านบาท, บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 100 ล้านบาท, บริษัท ปตท. น้ำมันและการค้าปลีก จำกัด (มหาชน) หรือ โออาร์ 20 ล้านบาท, บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) 20 ล้านบาท, บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน) 10 ล้านบาท, บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จำกัด (มหาชน) 50 ล้านบาท, ธนาคาร กสิกรไทย จำกัด (มหาชน) 50 ล้านบาท และ บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) 50 ล้านบาท รวมแล้วราว 1,400 ล้านบาท ซึ่งเป็นราคาที่ทางฟีฟ่ายอมลดให้และดีลจบกันไปเรียบร้อย และพวกเขาก็ได้ยกเลิก Must Have เป็นที่เรียบร้อยแล้วเช่นกัน

ทั้งนี้ คนไทยได้ดูฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายที่กาตาร์แน่นอนแล้ว ต่าในอนาคตอย่างหน้าก็ยังไม่มีอะไรมายืนยันได้อีกว่า พวกเขาจะได้รับชมฟุตบอลโลกผ่านช่องทางไหนหรือจะมีปัญหาแบบนี้อีกหรือไม่